ถ้าพิจารณาเฉพาะเครือข่ายห้องเรียนคอมพ์102 มันจัดว่าเป็น เครือข่ายแบบ-เพื่อน-ถึง-เพื่อน หรือ peer-to-peer นั่นหมายถึงว่า คอมพิวเตอร์แต่ละเครืองในวงแลนจะเป็นอิสระจากกันและกัน เพียงแต่มาร่วมกลุ่มกันแบบถ้อยทีถ้อยอาศัยกันในหมู่เพื่อนแค่นั้น ในอีกทางหนึ่ง หากนำเอาวงแลนนี้ไปต่อเชื่อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย หรือ server computer ที่อยู่ในห้องศูนย์สื่อ ของโรงเรียน เครือข่ายก็จะกลายเป็นแบบ "แม่ข่าย-ลูกข่าย" หรือServer-Client Network
What is about the client-server network? It means that the server computer of "the Media Center" is the manager/boss of other computers which are only the clients. The server computer has been installed with the operating-software-for-server such as Windows2003server/Windows2008server , Linux or Unix, which can manage the client computers of the network. The clients have to obey the server because the latter has the power to control/ban the former. Yes, the clients can never control/manage the server.
เครือข่ายแบบ Server-Client Network เป็นแบบใด? ก็หมายความว่า เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ของศูนย์สื่อคือ ผู้จัดการ/นาย ของเครื่องอืนๆ ที่มีสถานะเป็นแค่ลูกน้อง หรือClient แค่นั้น การที่เครื่องเซิร์ฟเวอร์สามารถบริหารจัดการเครืองลูกข่ายของมันได้นั้น เพราะมันได้ติดตั้งซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการแบบแม่ข่ายเอาไว้นั่นเอง อาทิ Windows2003server/Windows2008server , Linux หรือ Unix ซึ่งเครื่องลูกข่ายจะต้องยอมให้ตนเองถูกจัดการได้ เพราะซอฟต์แวร์ระบบของเครื่องแม่ข่ายสามารถควบคุม/สั่งแบน เครื่องอื่นๆ ได้ ในขณะที่เครื่องอื่นๆ ไม่สามารถบริหารจัดการเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้นั่นเอง
Every machine in the network is required to have its unique "hostname" and "IP address". Only the server computer has the "static IP-address" while the IP addresses of the client computers are "dynamic" specified/controlled by the sever. If the user of any client computer specify the static IP address himself, the server computer can never share the Internet connection because the "IP address conflict" problem could be occurred easily. Then the alien client will be kicked off /faded away from the network simultaneously. Yes, the server computer is the "Internet gateway" of the network.
คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมีชื่อเฉพาะตัวที่ไม่ซ้ำใคร เรียกว่า Hostname และต้องมีรหัสหมายเลขเครื่องกำกับไว้ เรียกว่า IP-address และในเครือข่ายแลนก็จะมีแค่เพียงเครื่องแม่ข่ายหรือเซิร์ฟเวอร์เท้านั้น ที่มีรหัสไอพีแอสเดรสแบบคงที่ เรียกว่ามี static IP-address ขณะที่ไอพีแอสเดรสของคอมพิวเตอร์ลูกข่ายทั้งหลาย จะไม่คงที่ หรือDynamic ส่วนจะเป็นรหัสไอพีอะไรนั้น เครื่องเซิรฟเวอร์จะเป็นตัวจัดการให้เอง โดยยึดหลัก FIFO (First In, First Out) ก็หมายความว่า เครื่องลูกข่ายตัวไหนเชื่อมต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ก่อนก็จะๆด้รับการจ่ายรหัสไอพีให้ก่อน-หลัง ตามลำดับไป แต่ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายตัวไหนไปดำเนินการกำหนดรหัสไอพีแอสเดรสของตัวเองเป็นแบบคงที่ละก็ คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ก็จะถูกเครื่องเซิร์ฟเวอร์เฉดหัวออกไปจากระบบ มิเช่นนั้นอาจจะทำให้เกิดปัญหารหัสไอพีชนกันได้ในระบบ และเครื่องเซิร์ฟเวอร์ในฐานะเกตเวย์หรือทางออกสู่อินเทอร์เน็ตของระบบ ก็จะไม่ยอมแบ่งปันการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้กับเครื่องนั้นๆ
OK., after selecting the "Local Area Network" option, the "Local Area Network Connection Status" window appears. You can see its speed of packets transmission (100 Mbps) , bytes of the sent/received packets.
หลังจากที่นักเรียนเลือก "Local Area Network" หน้าต่างที่ชื่อ "Local Area Network
Connection Status" ก็จะโผล่หน้ามาให้ยล ตรงนี้แหละนักเรียนก็จะเห็นได้ว่า ความเร็วของเครือข่ายเราขนาดไหนในการส่งแพ็คเก็ตส์ (จำนวนบิตของข้อมูลในหน่วยวินาที) ความเร็วระดับมดวิ่งนั่นแหละ แค่สัก 100 ล้านบิตต่อวินาที อย่าลืมว่า ตั้ง 8 บิต จึงจะได้ไบต์
Then, when you click on the "Properties" button, another window shows. To find and select the "Internet Protocol Version) option, you can see its IPaddress has been obtained automatically by the gateway/server computer (of the School Media Center).
ต่อจากนั้นเราก็คลิกปุ่ม properties เราจะพบว่า เครื่องลูกข่ายที่เราใช้อยู่ จะถูกจ่ายรหัสไอพีให้แบบอัตโนมัติ ตามที่กล่าวมาแล้ว (ถ้าจะปรับเป็นรหัสคงที่ก็ต้องมาปรับตรงนี้) แต่ปกติจะตั้งไว้ตามรูปนั่นแหละ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น